ครั้งที่ 3
วันที่
20 พฤศจิกายน 2555
- นำเสนอผลงานที่อาจารย์มอบหมาย โดยการนำผลงานของทุกกลุ่มมาติดบนกระดาน
- ตัวแทนเพื่อนออกไปร้องเพลง โปเลโปลา แล้ววิเคราะห์เนื้อเพลง
· ลักษณะ
ให้บอกทางคณิตศาสตร์ เช่น รูปร่าง/รูปทรง
สี ขนาด กลิ่น (ต่างจากส่วนประกอบ)
· ชนิด/ประเภท ถ้าใช้ประเภทต้องมีเกณฑ์ในการแบ่ง
· ประโยชน์
มีประโยชน์ในตัวและประโยชน์ที่นำไปประยุกต์
· ข้อควรระวัง/โทษ ข้อควรระวังต่างจากข้อจำกัด
คณิตศาสตร์
1. การนับ (counting) เป็นคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวกับตัวเลข
2. ตัวเลข (number) เป็นการให้เด็กรู้จักตัวเลขที่เห็นหรือใช้ในชีวิตประจำวัน
3. การจับคู่ (matching) เป็นการฝึกฝนให้เด็กรู้จักสังเกตลักษณะต่างๆ
4. การจัดประเภท (classification) เป็นการฝึกฝนให้เด็กรู้จักคุณสมบัติสิ่งต่างๆ
5. การเปรียบเทียบ (compring) เด็กจะมีการสังเกตความสัมพันธ์ระหว่างของสองสิ่งมาเปรียบเทียบกัน
6. การจัดลำดับ (ordening) เป็นการจัดสิ่งของชุดๆหนึ่งตามคำสั่ง
7. รูปทรงและเนื้อที่ (shape and space) ฝึกให้เด็กรู้จักสังเกต
8. การวัด (measurement)
1. การนับ (counting) เป็นคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวกับตัวเลข
2. ตัวเลข (number) เป็นการให้เด็กรู้จักตัวเลขที่เห็นหรือใช้ในชีวิตประจำวัน
3. การจับคู่ (matching) เป็นการฝึกฝนให้เด็กรู้จักสังเกตลักษณะต่างๆ
4. การจัดประเภท (classification) เป็นการฝึกฝนให้เด็กรู้จักคุณสมบัติสิ่งต่างๆ
5. การเปรียบเทียบ (compring) เด็กจะมีการสังเกตความสัมพันธ์ระหว่างของสองสิ่งมาเปรียบเทียบกัน
6. การจัดลำดับ (ordening) เป็นการจัดสิ่งของชุดๆหนึ่งตามคำสั่ง
7. รูปทรงและเนื้อที่ (shape and space) ฝึกให้เด็กรู้จักสังเกต
8. การวัด (measurement)
9. เซต (set)
10. เศษส่วน
11. การทำตามแบบหรือลวดลาย (patterning)
12. การอนุรักษ์ หรือกาคงที่ด้านปริมาณ (conservation) การที่ทำให้เด็กบอกได้ว่าปริมาณวัตถุเมื่อเคลื่อนที่หรือเปลี่ยนรูปร่างไปยังคงปริมาณเท่าเดิม
อ้างอิงจาก นิตยา ประพฤติกิจ. 2541 : 17 - 19)
10. เศษส่วน
11. การทำตามแบบหรือลวดลาย (patterning)
12. การอนุรักษ์ หรือกาคงที่ด้านปริมาณ (conservation) การที่ทำให้เด็กบอกได้ว่าปริมาณวัตถุเมื่อเคลื่อนที่หรือเปลี่ยนรูปร่างไปยังคงปริมาณเท่าเดิม
อ้างอิงจาก นิตยา ประพฤติกิจ. 2541 : 17 - 19)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น