วันพุธที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

ครั้งที่ 14

วันอังคาร ที่ 5  กุมภาพันธ์ 2556

 -  สอบสอน

 หน่วยเรื่องกระดุม

 วันที่ 1
 นำเข้าสู่บทเรียนโดย
    1.  ครูร้องเพลง    
    2.ครูเเจกภาพที่เป็นจิกซอ รูปกระดุม ให้เด็กเป็นบางคน
    3. .ให้เด็กนำภาพที่ได้มาต่อหรือวางให้เกิดเป็นภาพที่สมบูรณ์
    4. เด็กๆบอกคุณครูซิค่ะว่า เป็นภาพอะไร

ชนิดของกระดุม
 - กระดุมที่เด็กๆรู้จักมีอะไรบ้างค่ะ เด็กบอกเเละครูก็เขียนตามที่เด็กบอกไว้บนกระดาน
เด็กๆอยากทราบไหมค่ะว่าในขวดนี้มีกระดุมทั้งหมดกี่เม็ด
(อยู่ในการคาดคะเน คือการวัดเเบบไม่เป็นทางการ)
- ครูนับกระดุมในขวด
1 2  3 4 5 6 7 


วันที่ 2
 - ลักษณะของกระดุม
กระดุมโลหะ กับ กระดุมอโลหะ จะรู้ได้อย่างไรก็ใช้เเม่เหล็กมาดูด

วันที่ 3
- ถามประโยชน์ของกระดุมว่ามีประโยชน์อย่างไร
- บอกเทคนิคการนำเข้าสู่บทเรียน
วันที่ 4
 -การดูเเละรักษากระดุม
 -การนับเเละจับสีของกระดุม




วันศุกร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556


ครั้งที่13

วันอังคารที่29 มกราคม 2556

ความรู้ที่ได้รับ

-  อาจารย์ผู้สอน สนทนา ซักถาม --เกี่ยวกับงานกีฬาสีของสาขา เเละงานเลี้ยงส่งรุ่นพี่ปี5
 จัดกิจกรรมในวันพุธที่6 กุมภาพันธ์ 2556

ปี3 ทั้งหมด66คน
-  รำ....... นางสาว สว่างจิต คำชมภู (เชิญพระขวัญ) (1คน)
ร้องเพลง........นางสาว รัตติยา ตั่งอั่น (เพลงหนูไม่รู้)(1คน)
โฆษณา........ นางสาวนิศาชล กุลอัก เเละนางสาว ละมัย ใจดี(คน2)
พิธีกร.......นางสาวรุ่งนภา คำจันทร์ทา เเละนางสาว ปราณิตา นะอิบราเฮม(2คน)
-  การเเสดงโชว์....... ลิปซิ๊งเพลง
 (นางสาวจุฑามาศ สังข์ทอง)เเละ (นีรชา บัวสุวรรณ)(2คน)
เต้นประกอบเพลง ....... (นางสาวพลอยปภัส ภักดี)

                               (นางสาวเกตุวดี วงค์เเพทย์)
                               (นางสาวมาลินี ทองพันชัง)(3คน)
ละครใบ้....... (นางสาวอัจฉรา สุขประเสริฐ)เเละ(นางสาวจันทร์สุดา เทียมโฮม)(2คน)
ตลก...... (นางสาวณัฐชา พุ่งพะเนิน)(นางสาวดาราวรรณ นาวงศ์) (นางสาวชวนชม ด่านเเก้ว)(3คน)
ผู้กำกับหน้าม้า.......(นางสาวพวงทอง ก่อยิ่ง) (นางสาวนฏา หาญยุทธ)(2คน)
หน้าม้า........สมาชิกที่เหลือ(48คน)

รูปเเบบการเรียนการสอนเเบบโครงการโดยผ่านกิจกรรม
  เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์ มาตรฐานการเรียนรู้


สาระที่1  การเเบ่งเเต่ละฝ่าย มี7ฝ่าย
สาระที่2  เวลา

15:00-15:10น. รำ, ร้องเพลง, โฆษณา
15:10-15:30น. เเสดงโชว์เเต่ละรายการ

สาระที่3  ทิศทาง






สาระที่4   เเบบรูป / เเบบรูปที่เด็กปฏิบัติเอง  เนื้อร้อง ท่อนสร้อย

สาระที่5  เสร็จงาน รวบรวมข้อมูลว่ามีปัญหาอะไรเเละประเมินการทำงาน

ครั้งที่ 12

วันอังคารที่ 22 มกราคม 2556

- ความรู้ที่ได้รับในวันนี้
- เเต่ละกลุ่มนำเสนอการสอนของหน่วยตนเอง

หน่วยเรื่อง ขนมไทย
วันที่1
เเยกประเภท
-ขนมถ้วยรูปทรง--------กลม
-ขนมชั้นรูปทรง---------สี่เหลี่ยมจัตุรัส
-ขนมเม็ดขนุน-----------วงรี
จับคู่
-รูปภาพกับรูปภาพ
-ภาพกับคำ   ภาพกับตัวเลข
-ความสัมพันธ์สองเเกน
วันที่2
-นับจำนวน
-เเยกประเภทขนมเเล้วนับ
-จับคู่ภาพ เเลพภาพเป็นส่วนๆ (ในวันนี้เราอาจเพิ่มจำนวนขนมไทยได้)
ครูเเบ่งขนมชั้นเป็นครึ่งหนึ่ง ได้ 2 ส่วน
เเบ่งอีกครึ่งคือได้ 4 ส่วนเท่าๆกัน
เรียกเด็ก4คนมาชิม เด็กบอกรสชาติ
อนุกรม





หน่วยเรื่อง  ข้าว
วันที่1
ส่วนประกอบของต้นข้าว
ลักษณะของข้าว 
-เมล็ดข้าวสารเจ้า
-เมล็ดข้าวสารเหนียว
-เมล็ดข้าวเหนียวดำ
วันที่2
การเก็บรักษาข้าว เพื่อไว้กินนานๆ ป้องกันมอด
ภาชนะที่เก็บข้าวมาให้เด็กดู
1 ถัง
2 กระบุง
3 กระสอบ
4 ยุ้งฉ่าง
รูปเรขาคณิตของภาชนะเก็บรักษาข้าว
-วงกลม  -สามเหลี่ยม  -สี่เหลี่ยมจัตุรัส  -สี่เหลี่ยมพื้นผ้า -ทรงกระบอก
ที่เก็บข้าวมี4 ชนิด
-เก็บข้าวไว้ในถังเด็กๆเก็บไว้ที่บ้าน
- เก็บไว้ในกระสอบเก็บเพื่อเราจะเอาไปขาย 
-ยุ้งฉ่างไว้เก็บข้าวเปลือก




หน่วยเรื่อง กล้วย
ชนิดของกล้วย
ชื่อของกล้วยเเต่ล่ะชนิด
ข้อควรระวัง
- ผูกเรื่องเป็นนิทาน
-ต้นกล้วยอยู่หลังบ้าน (ตำเเหน่ง)
-เดินไปสวนหลังบ้านผ่านอะไรบ้าง
-เอาไม้มาพยุงต้นกล้วยให้มันสูงขึ้น (สูง-ต่ำ)
-ล้อมรั่วไม่ให้กล้วยหาย (พื้นที่)
การขยายพันธ์กล้วย
-ใช้กระดาษวัด ตัดกระดาษเป็นรูปมือ
-ขุดดิน เอาหน่อกล้วยมาปลูก พรวนดิน รดน้ำ
-ใน1เเถวมีต้นกล้วยกี่ต้น
-เเบ่งกลุ่มที่ขยายพันธ์กล้วยได้มากที่สุด




ครั้งที่  11


15   มกราคม   2556

                        -      ไม่มีการเรียนการสอน  เนื่องจากอาจารย์ติดประชุม

                         -      ให้นักศึกษาหาค้นคว้าเพิ่มเติม

 ครั้งที่   10

8   มกราคม    2556

                  -      ส่งงานที่ได้รับมอบหมาย 
                   -     ทบทวนบทเรียนเกี่ยวกับคณิตศาสตร์
                   -     ยกตัวอย่างในชีวิตประจำวันเกี่ยวกับตัวเลข

สสมท.
1.             จำนวนและการดำเนินการ  ( เข้าใจความหมาย )
2.             การวัด  แบ่งได้  2 ประเภท เช่น อุปกรณ์การวัด / ค่าปริมาณ
3.             ทีชคณิต  เข้าใจแบบรูปและความสัมพันธ์
4.             เลขาคณิต  เช่น สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม วงกลม สามรถนึกถึง ตำแหน่ง มุม ทิศทาง ระยะทาง
5.             ทักษะและกระบวนการคณิตศาสตร์

  -        คิดหาวิธิจากงานที่ส่ง  แบ่งได้  ประเภท คือ  ทำของเล่น  ทำเป็นสื่อ





   ครั้งที่   9

1   มกราคม  2556 
     
                  -   ปิดเรียนเนื่องจากตรงกับ  วันหยุดวันขึ้นปีใหม่


 ครั้งที่  8

25   ธันวาคม  2555

                  -      ไม่มีการเรียนการสอน  เนื่องจากอยู่ในช่วงสอบกลางภาค


  ครั้งที่  7


18   ธันวาคม   2555


-   ไม่มีการเรียนการสอน  (ส่งงานหลังปีใหม่)
-    เตรียมอ่านหนังสือสอบกลางภาค

  ครั้งที่ 6

11   ธันวาคม    2555


   -  ส่งการเขียนแผนจากอาทิตย์ที่แล้ว
  -  อาจารย์ให้หางานวิจัยที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์
 -   นำกล่องที่อาจารย์สั่ง แล้วถามว่าเมื่อเห็นกล่องแล้ว นึกถึงอะไร  ( ของเล่น ของขวัญ รูปทรง  ใส่ของ ลิปปิ้น ความกว้าง ความยาว ฯลฯ )
  -  ถามว่าอยากให้กล่องเป็นอะไร
 -   ประโยชน์ของกล่องมีอะไรบ้าง  แล้วดูจากอะไร




 ครั้งที่  5


ธันวาคม   2555


-                   ให้นักศึกษานำเสนอผลงานต่อจากอาทิตย์ที่แล้วให้เสร็จ
-                   อาจารย์ปรึกษาเรื่องการมีส่วนร่วมในกิจกรรมของคณะศึกษาศาสตร์
-                   สั่งงานให้สอบสอนเป็นรายบุคคลตามหน่วยของตัวเอง
·       จันทร์  สอนเรื่องชนิด
·       อังคาร สอนเรื่องลักษณะ
·       พุธ สอนเรื่องประโยชน์
·       พฤหัสบดี  สอนเรื่อง cooking
·       ศุกร์  สอนเรื่องโทษ/ข้อควรระวัง


-    บอกเทคนิคการเรียนแผนการจัดประสบการณ์  ยกตัวอย่าง เรื่อง ไข่



 ครั้งที่ 4


27  พฤศจิกายน   2555

                   -      เขียน Map  ตามความเข้าใจของเราตามหน่วยของตัวเอง แก้ไขให้เรียบร้อยถูกต้องจากอาทิตย์ที่แล้ว

                   -      อาจารย์พูกถึงการใช้โปรแกรม  มายแม็ป

                   -      แต่ละคู่นำเสนอผลงานของตนเองหน้าชั้นเรียน

·       กลุ่มที่ 2     (บ้าน)
-                   การนับ บ้านหลังนี้มีหน้าต่างกี่บาน
-                   ตัวเลข บ้านหลังนี้มีเลขที่อะไร
-                   จับคู่ ให้เด็กๆจับคู่ที่มีหน้าต่างสี่เหลี่ยมเหมือนกัน
-                   จัดประเภท  ให้เด็กๆเอาผ้ามาใส่ในตะกร้า
-                   เปรียบเทียบ บ้านของฉันใหญ่กว่าบ้านของเพื่อน
-                   เรียงลำดับเหตุการณ์ ให้ทำความสะอาดห้องครัวก่อน หลังจากนั้นไปทำความสะอาดห้องนอน
-                   การวัด  บ้านของฉันห่างจากบ้านของเพื่อน  10  ก้าว
-                   เซต ไปซื้อชุดกาแฟ 1 ชุด มี ช้อน ถ้วย จาน
-                   เศษส่วน  บริเวณบ้านของฉันแบ่งป็น 3 ส่วน เท่าๆกัน ส่วนที่ 1 ต้นไม้ ส่วนที่ 2 เลี้ยงปลา  ส่วนที่ 3 ปลูกผัก
-                   การทำตามแบบ ฉันนั่งวาดบ้านของฉัน

·       กลุ่มที่ 3    (แมลง)
-                   การนับ นับจำนวนขาแมลงแต่ละชนิด
-                   ตัวเลข   เลข 1 แทนแมลง 1 ตัว
-                   จับคู่  จับคู่ภาพที่มีจำนวนแมลงเท่ากัน
-                   เปรียบเทียบ  เปรียบแมลงว่าแมลงตัวไหนใหญ่กว่ากัน
-                   การวัด  ให้เด็กๆวัดลำตัวของแมลง โดยใช้เครื่องวัด
-                   เซต  เซตของอุปกรณ์ในการจับแมลง
-                   เศษส่วน  มีแมลง  10 ตัว แบ่งออกเป็น  2  ส่วนเท่าๆกัน
-                   การอนุรักษ์  ให้เด็กมองภาชนะที่ใส่แมลงที่วางอยู่เยื้องกัน

·       กลุ่มที่ 5     (รถ)
-                   การนับ  รถคันนี่มีล้อกี่ล้อ
-                   ตัวเลข  วันนี้ฉันนั่งรถเมล์สาย  191
-                   จับคู่   ให้เด็กจับคู่ตัวเลขกับภาพที่มีจำนวนเท่าๆกัน
-                   จัดประเภท  รถยนต์คันนี้จอดที่ไหน นำภาพที่มีจำนวนล้อมาติดลานจอดรถตามที่ครูกำหนด
-                   เปรียบเทียบ   ให้เด็กบอกว่า รถไฟกับรถเมล์ อันไหนมีล้อมากกว่ากัน
-                   เรียงลำดับ  ในช่วงเช้าฉันเอารถไปล้าง  และช่วงบ่ายฉันเอารถไปทำประกัน
-                   รูป/รูปทรง   รถไฟมีรูปทรงสี่เหลี่ยม
-                   การวัด   ตั๋วเครื่องบินมีราคาแพง
-                   เซต   เครื่องดูดฝุ่น ฟอกเบาะ เคลือบสี การทำความสะอาดของรถ (เซตการทำความสะอาดรถมี ........)
-                   การทำตามแบบ   ก่อนขับรถต้องคาดเข็มขัดนิรภัยทุกครั้ง (มอไซด์วิ่งเร็วกว่ารถจักรยาน ถึงจะมี 2 ล้อเหมือนกัน)

·       กลุ่มที่  6     (ขนมไทย)
-                   การนับ   ให้เด้กนับขนมที่ครูนำมา
-                   ตัวเลข   ให้เด็กนำตัวเลขมาแทนค่ากับจำนวนภาพที่เท่ากัน
-                   จับคู่   ให้เด็กจับคู่ที่มีรูปทรงเหมือนกัน
-                   จัดประเภท   ให้เด็กแยกขนมที่นิ่มไว้ถาดเดียวกัน
-                   เปรียบเทียบ   ให้เด็กเปรียบเทียบว่าขนมชิ้นไหนใหญ่กว่า
-                   เรียงลำดับ   เรียงลำดับจากเล็กไปใหญ่
-                   รูปทรง   ให้เด็กบอกรูปทรงของขนม
-                   เนื้อที่   ถาดขนมที่ 1 ใส่ขนมได้มากกว่าถาดที่ 2
-                   การวัด   ขนมชนิดไหนกว่ากัน
-                   เซต   อุปกรณ์ในการทำขนมมีอะไรบ้าง
-                   การทำตามแบบ   ให้เด็กแต่งลวดลายขนมตามอิสระ
-                   เศษส่วน    ให้เด็กแบ่งขนมเป็น  4 ชิ้น ใน 1 ชิ้นใหญ่
-                   การอนุรักษ์   เทวุ้นในภาชนะที่ต่างกัน ในปริมาณที่เท่ากัน


ครั้งที่  3


วันที่  20  พฤศจิกายน  2555

                  -    นำเสนอผลงานที่อาจารย์มอบหมาย โดยการนำผลงานของทุกกลุ่มมาติดบนกระดาน

                  -    ตัวแทนเพื่อนออกไปร้องเพลง โปเลโปลา  แล้ววิเคราะห์เนื้อเพลง
·       ลักษณะ ให้บอกทางคณิตศาสตร์ เช่น รูปร่าง/รูปทรง  สี  ขนาด  กลิ่น (ต่างจากส่วนประกอบ)
·       ชนิด/ประเภท  ถ้าใช้ประเภทต้องมีเกณฑ์ในการแบ่ง
·       ประโยชน์ มีประโยชน์ในตัวและประโยชน์ที่นำไปประยุกต์
·       ข้อควรระวัง/โทษ  ข้อควรระวังต่างจากข้อจำกัด
คณิตศาสตร์


                1.  การนับ (counting) เป็นคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวกับตัวเลข
                2.  ตัวเลข (number)  เป็นการให้เด็กรู้จักตัวเลขที่เห็นหรือใช้ในชีวิตประจำวัน
                3.  การจับคู่  (matching)  เป็นการฝึกฝนให้เด็กรู้จักสังเกตลักษณะต่างๆ
                4.  การจัดประเภท (classification)  เป็นการฝึกฝนให้เด็กรู้จักคุณสมบัติสิ่งต่างๆ
                5.  การเปรียบเทียบ (compring)  เด็กจะมีการสังเกตความสัมพันธ์ระหว่างของสองสิ่งมาเปรียบเทียบกัน
                6.  การจัดลำดับ (ordening)  เป็นการจัดสิ่งของชุดๆหนึ่งตามคำสั่ง
                7.  รูปทรงและเนื้อที่ (shape and space)  ฝึกให้เด็กรู้จักสังเกต
                8.  การวัด  (measurement)
                        9.  เซต  (set)
                      10. เศษส่วน
                      11. การทำตามแบบหรือลวดลาย (patterning)
                      12. การอนุรักษ์ หรือกาคงที่ด้านปริมาณ (conservation)  การที่ทำให้เด็กบอกได้ว่าปริมาณวัตถุเมื่อเคลื่อนที่หรือเปลี่ยนรูปร่างไปยังคงปริมาณเท่าเดิม


                                                                          อ้างอิงจาก  นิตยา   ประพฤติกิจ. 2541 : 17 - 19)