วันจันทร์ที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2556


สรุปงานวิจัย


ชื่องานวิจัย ... การพัฒนาเกมการศึกษาเพื่อเตรยมความพร้อมทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

ผู้วิจัย ... นางนิธิกานต์   ขวัญบุญ

ความเป็นมาและความสำคัญ

          การจัดการศึกษาในระดับปฐมวัยนั้นมีจุดมุ่งหมายหลักเพื่อพัฒนาเด็กโดยส่วนรวมทุกด้านเน้นพัฒนาการเด็กทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ - จิตใจ สังคมและสติปัญญาและการจัดการศึกษาโดยเน้นเด็กเป็นศูนย์กลาง คณิตศาสตร์เป็นวิชาที่มีลักษณะเป็นนามธรรมการจัดการเรียนการสอนจำเป็นต้องมีสื่อเพื่อเชื่อมโยงความเข้าใจของเด็กในสิ่งที่เป็นรูปธรรมทางคณิตศาสตร์

วัตถุประสงค์  ...  1. ศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาเกมการศึกษาเพื่อเตรียม
                               ความพร้อมคณิตศาสตร์ เรื่องการแทนค่าจำนวน 1 - 10
                           2. เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของเกมการศึกษาเพื่อเตรียม
                               ความพี้อมทางคณิตศาสตร์ เรื่องการแทนค่าจำนวน 1 - 10

ขอบเขตวิจัย  ...   นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3/2  ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2548
                            จำนวน 1 ห้องเรียน รวม 25 คน

สรุปผลวิจัย  ...  

                ผลการศึกษาข้อมูลพื้นฐานพบว่า นักเรียนและทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องต้องการให้มีการพัฒนาเกมการศึกษา  โดยให้มีรูปแบบที่เหมาะสม วิธีการเล่นให้มีหลากหลายวิธี เวลาในการปฏิบัติกิจกรรมที่นำมาพัฒนาเกมการศึกษาและเกมการศึกษายังสอดคล้องกับหน่วยการเรียนการสอนหลักสูตร โดยเรียนรู้จากการปฏิบัติโดยเรื่องที่นำมาพัฒนาเกมการศึกษามีเนื้อหาจากความต้องการและความสนใจของนักเรียนเป็นสำคัญ  ควรจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียนโดยยึดนักเรียนเป็นสำคัญและความแตกต่างระหว่างบุคคล

วันเสาร์ที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2556


ครั้งที่ 16

วันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2556

-อาจารย์พูดคุยกับนักศึกษาเรื่องเสื้อสูตว่าจะทำหรือไม่ทำ

-พูดคุยเรื่องงานกีฬาสีเอก  บายเนียร์  ปัจฉิม และนัดการสอบปลายภาคนอกเวลา
โดยมีหมายกำหนดการดังนี้
 1. วันที่ 26 กุมภาพันธ์ สอบปลายภาคเรียน
 2. วันที่ 2 มีนาคม กีฬาสีเอก เริ่มตอน 9โมงเช้า
 3. วันที่ 3 มีนาคม ตอนเช้าปัจฉิม ตอนเย็นกิจกรรมบายเนียร์
 4. วันที่ 5 มีนาคม ถึงวันที่ 8 มีนาคม ไปศึกษาดูงานที่ลาว

-อาจารย์แจกกระดาษให้นักศึกษาคนละแผ่นและให้เขียนสิ่งที่รู้ในวิชานี้ โดยถามว่า
 1. ความรู้ที่ได้รับ
 2. ทักษะที่ได้
 3. วิธีการสอน




ครั้งที่ 15


วันที่  12  กุมภาพันธ์  2556

หน่วย อวัยวะ
  • ดูการสอนเรื่องอวัยวะภายนอกร่างกาย
  • เทคนิคการนำเข้าสู่บทเรียน
วันที่1 
รู้จักอวัยวะภายนอก
  1. การนับไม่ควรนับย้อนไปย้อนมา  ควรไล่ลงมาเป็นลำดับเพื่อเด็กจะไม่สับสน
  2. เมื่ออวัยวะใดที่นับไปแล้ว ควรจะทำเครื่องหมายเอาไว้ เพื่อเป็นสัญลักษณ์  และเป็นการรอบครอบของครูผู้สอน
  3. เด็กไม่สามารถอ่านออกได้ ดังนั้นควรมีภาพมาติด และเขียนลงไป เพื่อให้เด็กเห็นว่ามันเขียนอย่างไร และเด็กสามารถรู้ว่าอัวยวะนั้นเรียกว่าอะไร โดยการดูจากรูปภาพ
วันที่2
ลักษณะ
  1. เมื่อเป็นลักษณะควรใช้ตารางสัมพันธ์  เพื่อเป็นการเปรียบเทียบ  และมีการสรุปอีกที เพื่อเป็นการทวนความรู้ให้กับเด็ก
วันที่ 3
หน้าที่
  1. เนื่องจากว่ามันเป็นข้อความรู้  ดังนั้นควรเล่านิทานเพื่อเข้าสู่บทเรียน 
  2. ในเมื่อมีภาพเราก็ใช้ภาพนั้นมาติด  แล้วลองถามว่าอวัยวะนี้ทำอะไรได้บ้าง
  3. เราทำเป็นMapping  เปลี่ยนจากเขียนเป็นวาดภาพลงไป  เด็กจะได้เข้าใจ
  4. จากนั้นก็ทำการสรุปโดยใช้Mapping เริ่มจากหน้าที่ และค่อยขยาย เป็นชื่ออวัยวะต่างๆที่เรามี  จากนั้นจึงค่อยขยายหน้าที่ของอวัยวะนั้นๆตามที่เขียนมา
วันที่ 4 
ประโยชน์
  1. เป็นการเล่านิทานโดยให้เด็กได้มีส่วนร่วม โดยการทำตามคำบรรยาย
วันที่ 5 
วิธีการดูแลรักษา
  1. การสอนการดูแลรักษาอวัยวะอย่างแรก ควรบอกให้เด็กไปหาผู้ปกครองก่อน



วันพุธที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

ครั้งที่ 14

วันอังคาร ที่ 5  กุมภาพันธ์ 2556

 -  สอบสอน

 หน่วยเรื่องกระดุม

 วันที่ 1
 นำเข้าสู่บทเรียนโดย
    1.  ครูร้องเพลง    
    2.ครูเเจกภาพที่เป็นจิกซอ รูปกระดุม ให้เด็กเป็นบางคน
    3. .ให้เด็กนำภาพที่ได้มาต่อหรือวางให้เกิดเป็นภาพที่สมบูรณ์
    4. เด็กๆบอกคุณครูซิค่ะว่า เป็นภาพอะไร

ชนิดของกระดุม
 - กระดุมที่เด็กๆรู้จักมีอะไรบ้างค่ะ เด็กบอกเเละครูก็เขียนตามที่เด็กบอกไว้บนกระดาน
เด็กๆอยากทราบไหมค่ะว่าในขวดนี้มีกระดุมทั้งหมดกี่เม็ด
(อยู่ในการคาดคะเน คือการวัดเเบบไม่เป็นทางการ)
- ครูนับกระดุมในขวด
1 2  3 4 5 6 7 


วันที่ 2
 - ลักษณะของกระดุม
กระดุมโลหะ กับ กระดุมอโลหะ จะรู้ได้อย่างไรก็ใช้เเม่เหล็กมาดูด

วันที่ 3
- ถามประโยชน์ของกระดุมว่ามีประโยชน์อย่างไร
- บอกเทคนิคการนำเข้าสู่บทเรียน
วันที่ 4
 -การดูเเละรักษากระดุม
 -การนับเเละจับสีของกระดุม




วันศุกร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556


ครั้งที่13

วันอังคารที่29 มกราคม 2556

ความรู้ที่ได้รับ

-  อาจารย์ผู้สอน สนทนา ซักถาม --เกี่ยวกับงานกีฬาสีของสาขา เเละงานเลี้ยงส่งรุ่นพี่ปี5
 จัดกิจกรรมในวันพุธที่6 กุมภาพันธ์ 2556

ปี3 ทั้งหมด66คน
-  รำ....... นางสาว สว่างจิต คำชมภู (เชิญพระขวัญ) (1คน)
ร้องเพลง........นางสาว รัตติยา ตั่งอั่น (เพลงหนูไม่รู้)(1คน)
โฆษณา........ นางสาวนิศาชล กุลอัก เเละนางสาว ละมัย ใจดี(คน2)
พิธีกร.......นางสาวรุ่งนภา คำจันทร์ทา เเละนางสาว ปราณิตา นะอิบราเฮม(2คน)
-  การเเสดงโชว์....... ลิปซิ๊งเพลง
 (นางสาวจุฑามาศ สังข์ทอง)เเละ (นีรชา บัวสุวรรณ)(2คน)
เต้นประกอบเพลง ....... (นางสาวพลอยปภัส ภักดี)

                               (นางสาวเกตุวดี วงค์เเพทย์)
                               (นางสาวมาลินี ทองพันชัง)(3คน)
ละครใบ้....... (นางสาวอัจฉรา สุขประเสริฐ)เเละ(นางสาวจันทร์สุดา เทียมโฮม)(2คน)
ตลก...... (นางสาวณัฐชา พุ่งพะเนิน)(นางสาวดาราวรรณ นาวงศ์) (นางสาวชวนชม ด่านเเก้ว)(3คน)
ผู้กำกับหน้าม้า.......(นางสาวพวงทอง ก่อยิ่ง) (นางสาวนฏา หาญยุทธ)(2คน)
หน้าม้า........สมาชิกที่เหลือ(48คน)

รูปเเบบการเรียนการสอนเเบบโครงการโดยผ่านกิจกรรม
  เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์ มาตรฐานการเรียนรู้


สาระที่1  การเเบ่งเเต่ละฝ่าย มี7ฝ่าย
สาระที่2  เวลา

15:00-15:10น. รำ, ร้องเพลง, โฆษณา
15:10-15:30น. เเสดงโชว์เเต่ละรายการ

สาระที่3  ทิศทาง






สาระที่4   เเบบรูป / เเบบรูปที่เด็กปฏิบัติเอง  เนื้อร้อง ท่อนสร้อย

สาระที่5  เสร็จงาน รวบรวมข้อมูลว่ามีปัญหาอะไรเเละประเมินการทำงาน

ครั้งที่ 12

วันอังคารที่ 22 มกราคม 2556

- ความรู้ที่ได้รับในวันนี้
- เเต่ละกลุ่มนำเสนอการสอนของหน่วยตนเอง

หน่วยเรื่อง ขนมไทย
วันที่1
เเยกประเภท
-ขนมถ้วยรูปทรง--------กลม
-ขนมชั้นรูปทรง---------สี่เหลี่ยมจัตุรัส
-ขนมเม็ดขนุน-----------วงรี
จับคู่
-รูปภาพกับรูปภาพ
-ภาพกับคำ   ภาพกับตัวเลข
-ความสัมพันธ์สองเเกน
วันที่2
-นับจำนวน
-เเยกประเภทขนมเเล้วนับ
-จับคู่ภาพ เเลพภาพเป็นส่วนๆ (ในวันนี้เราอาจเพิ่มจำนวนขนมไทยได้)
ครูเเบ่งขนมชั้นเป็นครึ่งหนึ่ง ได้ 2 ส่วน
เเบ่งอีกครึ่งคือได้ 4 ส่วนเท่าๆกัน
เรียกเด็ก4คนมาชิม เด็กบอกรสชาติ
อนุกรม





หน่วยเรื่อง  ข้าว
วันที่1
ส่วนประกอบของต้นข้าว
ลักษณะของข้าว 
-เมล็ดข้าวสารเจ้า
-เมล็ดข้าวสารเหนียว
-เมล็ดข้าวเหนียวดำ
วันที่2
การเก็บรักษาข้าว เพื่อไว้กินนานๆ ป้องกันมอด
ภาชนะที่เก็บข้าวมาให้เด็กดู
1 ถัง
2 กระบุง
3 กระสอบ
4 ยุ้งฉ่าง
รูปเรขาคณิตของภาชนะเก็บรักษาข้าว
-วงกลม  -สามเหลี่ยม  -สี่เหลี่ยมจัตุรัส  -สี่เหลี่ยมพื้นผ้า -ทรงกระบอก
ที่เก็บข้าวมี4 ชนิด
-เก็บข้าวไว้ในถังเด็กๆเก็บไว้ที่บ้าน
- เก็บไว้ในกระสอบเก็บเพื่อเราจะเอาไปขาย 
-ยุ้งฉ่างไว้เก็บข้าวเปลือก




หน่วยเรื่อง กล้วย
ชนิดของกล้วย
ชื่อของกล้วยเเต่ล่ะชนิด
ข้อควรระวัง
- ผูกเรื่องเป็นนิทาน
-ต้นกล้วยอยู่หลังบ้าน (ตำเเหน่ง)
-เดินไปสวนหลังบ้านผ่านอะไรบ้าง
-เอาไม้มาพยุงต้นกล้วยให้มันสูงขึ้น (สูง-ต่ำ)
-ล้อมรั่วไม่ให้กล้วยหาย (พื้นที่)
การขยายพันธ์กล้วย
-ใช้กระดาษวัด ตัดกระดาษเป็นรูปมือ
-ขุดดิน เอาหน่อกล้วยมาปลูก พรวนดิน รดน้ำ
-ใน1เเถวมีต้นกล้วยกี่ต้น
-เเบ่งกลุ่มที่ขยายพันธ์กล้วยได้มากที่สุด




ครั้งที่  11


15   มกราคม   2556

                        -      ไม่มีการเรียนการสอน  เนื่องจากอาจารย์ติดประชุม

                         -      ให้นักศึกษาหาค้นคว้าเพิ่มเติม